ผ่อนพักรักษาใจ ให้โปร่ง ใส สุข เบา พร้อมสำหรับเช้าวันจันทร์ ด้วยพลังแห่งฉันทะและธรรมสมาธิ


ภาวนาแบบผ่อนคลาย ผ่านห้องประชุม zoom
ทุกวันอาทิตย์ เวลา ๑๙.๓๐-๒๐.๓๐ น.
 
ผ่อนพักรักษาใจ ให้โปร่ง ใส สุข เบา
พร้อมสำหรับเช้าวันจันทร์ ด้วยพลังแห่งฉันทะและธรรมสมาธิ 

 

เข้าร่วมกิจกรรม อ่าน ฟัง นั่ง  เดิน เจริญสติ (season 3)

ในวันที่จัดกิจกรรมก่อนเริ่ม ๑๕ นาที (๑๙.๑๕ น.) ที่ลิงก์ 
https://us02web.zoom.us/j/83794863827?pwd=U0IrWFMzS3NNcXJQMXVRejhiR3ROQT09
Meeting ID: 837 94863827
Passcode : 123456
ได้รับความอนุเคราะห์ห้องประชุมซูมจากหอจดหมายเหตุพุทธทาส อินทปัญโญ
ภาพประกอบกิจกรรมโดย Apolar  (อาชว์ - อรุษ เอ่งฉ้วน) 

 

ฟังย้อนหลังได้

ทุกวันอาทิตย์ถัดไป ทาง ญาณเวศก์ออนไลน์ | ญาณเวศก์พอดแคสท์

 

รายการ ปีที่ ๒  (พ.ศ. ๒๕๖๕)

การฝึกวิปัสสนากรรมฐาน 
๐๑ ฟังธรรมเรื่อง "ความแตกต่างระหว่างสมถะและวิปัสสนา"
๐๒ ฟังธรรมเรื่อง "บัญญัติ ปรมัตถ์"
๐๓ ฟังธรรมเรื่อง "เริ่มจากบัญญัติไปสู่ปรมัตถ์"
๐๔ ฟังธรรมเรื่อง "วิธีเพิกสมมติบัญญัติ"
๐๕ ฟังธรรมเรื่อง "อานาปานสติสู่วิปัสสนา"
๐๖ ฟังธรรมเรื่อง "อภิธรรมจริง"
๐๗ ฟังธรรมเรื่อง "จิตคือผู้รู้"
๐๘ ฟังธรรมเรื่อง "ระลึกรู้ รู้ผู้รู้"
๐๙ ฟังธรรมเรื่อง "จิต เจตสิก รูป นิพพาน"
๑๐ ฟังธรรมเรื่อง "วิปัสสนาภูมิ ๖"
๑๑ ฟังธรรมเรื่อง "รูปนามกับภาวะไตรลักษณ์"
๑๒ ฟังธรรมเรื่อง "ชีวิตเป็นเพียงขันธ์ ๕ "
๑๓ ฟังธรรมเรื่อง "การตามรู้จิต"
๑๔ ฟังธรรมเรื่อง "แม่บทหลักของการปฏิบัติธรรม" (กิจในทุกขสัจจ์)
๑๕ ฟังธรรมเรื่อง "แม่บทหลักของการปฏิบัติธรรม" (กิจในสมุทัย นิโรธ มรรค)
๑๖ ฟังธรรมเรื่อง "การเจริญสติในชีวิตประจำวัน"
๑๗ ฟังธรรมเรื่อง "จุดอ่อนของนักปฏิบัติธรรม"
๑๘ ฟังธรรมเรื่อง "การเจริญสติปัฏฐาน" (กาย)
๑๙ ฟังธรรมเรื่อง "การเจริญสติปัฏฐาน" (เวทนา, จิต, ธรรม)
๒๐ ฟังธรรมเรื่อง "แนวทางปฏิบัติโพธิปักขิยธรรม ๓๗ ประการ"
๒๑ ฟังธรรมเรื่อง "ประทีปส่องธรรม"
๒๒ ฟังธรรมเรื่อง "จงสร้างเหตุแห่งพระนิพพาน"
๒๓ ฟังธรรมเรื่อง ตำแหน่งของข้อปฏิบัติทางจิตใจในระบบพระพุทธศาสนา (ช่วงที่ ๑)
๒๔ ฟังธรรมเรื่อง ตำแหน่งของข้อปฏิบัติทางจิตใจในระบบพระพุทธศาสนา (ช่วงที่ ๒ พระพุทธเจ้าตรัสรู้อะไร)
๒๕ ฟังธรรมเรื่อง ตำแหน่งของข้อปฏิบัติทางจิตใจในระบบพระพุทธศาสนา (ช่วงที่ ๓ มรรค)
๒๖ ฟังธรรมเรื่อง ตำแหน่งของข้อปฏิบัติทางจิตใจในระบบพระพุทธศาสนา (ช่วงที่ ๔ ภาวนา ๔)
๒๗ ฟังธรรมเรื่อง ความสัมพันธ์ระหว่างจิตภาวนากับปัญญาภาวนา (ช่วงที่ ๑)
๒๘ ฟังธรรมเรื่อง ความสัมพันธ์ระหว่างจิตภาวนากับปัญญาภาวนา (ช่วงที่ ๒)
๒๙ ฟังธรรมเรื่อง ความสัมพันธ์ระหว่างจิตภาวนากับปัญญาภาวนา (ช่วงที่ ๓)
๓๐ ฟังธรรมเรื่อง จากจิตภาวนาสู่ปัญญาภาวนาตามวิธีสติปัฏฐาน (ช่วงที่ ๑)
๓๑ ฟังธรรมเรื่อง จากจิตภาวนาสู่ปัญญาภาวนาตามวิธีสติปัฏฐาน (ช่วงที่ ๒) ความหมายของวิปัสสนา
๓๒ ฟังธรรมเรื่อง วิปัสสนาภูมิ ๖ (ช่วงที่ ๑) ขันธ์, อายตนะ
๓๓ ฟังธรรมเรื่อง วิปัสสนาภูมิ ๖ (ช่วงที่ ๒) ธาตุ อินทรีย์ อริยสัจ ปฏิจจสมุปบาท
๓๔ ฟังธรรมเรื่อง โพธิปักขิยธรรม ๓๗
๓๕ ฟังธรรมเรื่อง โพธิปักขิยธรรม ๓๗ (ช่วงที่ ๒) : โพชฌงค์, อริยมรรค
๓๖ ฟังธรรมเรื่อง วิสุทธิ ๗
๓๗ ฟังธรรมเรื่อง  วิปัสสนาญาณ ๙ และ ญาณ ๑๖
๓๘ ฟังธรรมเรื่อง ปริญญา ๓, อนุปัสสนา ๓, ตัวอุปสรรคในกระบวนการปฏิบัติ
๓๙ ฟังธรรมเรื่อง เกี่ยวกับวิปัสสนาและสติปัฏฐาน
๔๐ ฟังธรรมเรื่อง กายานุปัสสนาสติปัฏฐาน
๔๑ ฟังธรรมเรื่อง เวทนา-จิตตา-ธรรมานุปัสสนาสติปัฏฐาน, ข้อสังเกตและข้อแตกต่าง
๔๒ หลักการปฏิบัติ ความมุ่งหมาย และตัวทำงาน และเรื่อง วิธีการกำหนดและวางใจ
๔๓ ฟังธรรมเรื่อง วิธีการกำหนด วางใจ และกระบวนวิธีปฏิบัติ เทคนิคในการเจริญสติปัฏฐาน
๔๔ การใช้อานาปานสติโยงสู่สติปัฏฐาน ๔ และลำดับการปฏิบัติในการเจริญอานาปานสติ ๑๖ ขั้น
๔๕ ฟังธรรมเรื่อง ข้อควรทราบเกี่ยวกับอานาปานสติสูตร
๔๖ ฟังธรรมเรื่อง ข้อควรทราบเกี่ยวกับอานาปานสติสูตร (นิวรณ์ ๕ องค์ฌาน ๕ ธรรมสมาธิ ๕)
๔๗ ฟังธรรมเรื่อง ลำดับการปฏิบัติ อานาปานสติ :: ยืน นั่ง ฟัง เดิน เจริญ สติ
๔๘ ฟังธรรมเรื่อง ลำดับฝึกอานาปานสติ กายานุปัสสนาสติปัฏฐาน และเวทนานุปัสสนาสติปัฏฐาน
๔๙ ฟังธรรมเรื่อง ลำดับฝึกอานาปานสติ จิตตานุปัสสนาสติปัฏฐานและธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐาน
๕๐ ฟังธรรมเรื่อง ความสำเร็จของการปฏิบัติ - โพชฌงค์ ๗
๕๑ ฟังธรรมเรื่อง สมถะ-วิปัสสนา (ตอนแรก)
๕๒ ฟังธรรมเรื่อง สมถะ-วิปัสสนา (ตอนจบ)
 

รายการ ปีที่ ๑  (พ.ศ. ๒๕๖๔)


๑. สติ
๑.๑ นาฬิกาตาย   
๑.๒ คุณค่าของชีวิต การงาน และทุกเวลาปัจจุบัน 
๑.๓ สติทำกิจสำคัญทั้งในสมถะ และในวิปัสสนา
๑.๔ บุญในทุกขณะของชีวิต
๒.๐  ฝึก หัด ดัด - จริต : พัฒนาชีวิต ทำจิตใจให้งดงาม
๒. พรหมวิหารกรรมฐาน (แบบฝึกหัดสำหรับโทสะจริต)
๒.๐๑ ฝึก หัด ดัด - จริต 
๒.๐๒ รักแล้วทุกข์ หรือถึงสุข สู่สวรรค์
๒.๐๓ ฝึก ชม
๒.๐๔ รัก + รู้
     ๒.๐๕ จงรักเพื่อนบ้าน จงรักศัตรู
๒.๐๖ เมตตาตัวเอง
๒.๐๗ เมตตาต่อบุคคลในครอบครัว
๒.๐๘ เมตตาต่อเพื่อนมนุษย์
๒.๐๙ เมตตาภาวนาเพื่อการเยียวยาตนเอง
๒.๑๐ เมตตาภาวนาเพื่อการเยียวยาตนเอง ตอนที่ ๒
๓. กายคตาสติ (แบบฝึกหัดสำหรับราคะจริต)
๓.๐๑ งด-งาม
๓.๐๒ ฝึกดูกาย คลายความหลงในกาม
๓.๐๓ กายคตาสติ กรรมฐานแนะนำสำหรับราคะจริต
๓.๐๔ กายคตาสติสูตร
๔.  มรณานุสสติ (แบบฝึกหัดสำหรับพุทธิจริต)
๔.๐๑ เผชิญความแก่ อย่างผ่องใส
๔.๐๒  เผชิญความป่วยไข้ อย่างเข้าใจ
๔.๐๓  เผชิญความตาย (อย่างไร) ดี
๔.๐๔ ก่อนจากลา หลังจากตาย
๔.๐๕ ทุกขณะ อาจเป็น ลมหายใจ สุดท้าย
๔.๐๖ ความตาย เตือนให้ดี ไม่ต้องเดี๋ยว
๔.๐๗ ฝึกเทคนิค แม้จะตาย ก็สบายใจได้
๔.๐๘ วิธีเจริญมรณสติ ตามวิสุทธิมรรค (๑) 
๔.๐๙ วิธีเจริญมรณสติ ตามวิสุทธิมรรค (๒)
๔.๑๐ นักโทษประหาร | เฉลยปริศนา นักโทษประหาร

๕. อนุสสติ (แบบฝึกหัดสำหรับศรัทธาจริต)
๕.๐๑ พุทธานุสติ
๕.๐๒ พุทธานุสติ (๒)
๕.๐๓
ธัมมานุสติ 
๕.๐๔
สังฆานุสติ
๕.๐๕ สีลานุสติ จาคานุสติ เทวตานุสติ
๖.  อานาปานสติ  (แบบฝึกหัดสำหรับวิตกจริต)
๖.๐๑ การฝึกอานาปานสติเบื้องต้น
๖.๐๒ ช่วงถาม-ตอบ การฝึกอานาปานสติเบื้องต้น
๖.๐๓ ลำดับขั้นการฝึกอานาปานสติ
๖.๐๔ ช่วง ถาม-ตอบ ลำดับขั้นการฝึกอานาปานสติ
๖.๐๕ การวางจิตก่อนเจริญอานาปานสติ
๖.๐๖ ช่วง ถาม-ตอบ การว่างจิตก่อนเจริญอานาปานสติ
๖.๐๗ อานาปานสติ ฝึกจนเคยก็ไม่ยาก
๖.๐๘ ช่วงถาม-ตอบ อานาปานสติ ฝึกจนเคยก็ไม่ยาก
๖.๐๙ อานาปานสติขั้นเตรียมการ
๖.๑๐ เจริญสติอิริยาบถเดิน
๖.๑๑ อานาปานสติ : พิจารณารูป-นาม
๖.๑๒ วันคืนแห่งการปฏิบัติธรรม

๗. วิปัสสนากรรมฐาน
     ๗.๐๑ สภาวะธรรมตามความเป็นจริง
     ๗.๐๒ เจริญวิปัสสนาไปเพื่ออะไร
     ๗.๐๓ สัมปชัญญะ
๗.๐๔ สติปัฏฐาน
๗.๐๕ ปุจฉา-วิสัชนา การฝึกวิปัสสนา กับพระอาจารย์โชติก
๗.๐๖ กายานุปัสนาสติปัฎฐาน
๗.๐๗ เวทนานุปัสสนาสติปัฏฐาน
๗.๐๘ จิตตานุปัสสนาสติปัฏฐาน ธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐาน
 

พระวิทยากร

พระอาจารย์โชติก อภิชาโต  (ปี ๑  Ep. ๒.๖ - ๒.๑๐, ๗.๕ - ๗.๘)
พระครูธรรมรุจิ (มรกต สุขิโต)  (ปี ๑ Ep. ๖.๑ - ๖.๘)
พระครูเมธังกร (ปณต คุณวฑฺโฒ)  (ปี ๑ Ep.๑, ๒.๑-๒.๕, ๓, ๔ | ปี ๒ Ep. ๐๑ -๒๐)
พระมหาฟูกิจ ชุติปญฺโญ  (ปี ๑ Ep. ๖.๙-๖.๑๒)
พระครูวรวงศ์ (วีรภัทร ถิรญาโณ)  (ปี ๑ Ep. ๕.๑-๕.๕)
พระอาจารย์วรท ธมมฺมธโร (ปี ๑ Ep. ๗.๑-๗.๔)
Bhodhiyano bhikkhu
"ญาณเวศก์.ออนไลน์" เป็นช่องทางสื่อธรรมแนวทดลอง ที่เริ่มต้นจาก "หอญาณเวศก์ธรรมสมุจย์" ซึ่งเป็นอาคารหลังหนึ่งในวัดญาณเวศกวัน อ.สามพราน จ.นครปฐม
ตั้งขึ้นเพื่อ "ประโยชน์อันกว้างขวางมั่นคงถาวรในการศึกษาค้นคว้างานทางพระพุทธศาสนา แก่นักศึกษาและผู้สนใจในกาลต่อไป"

เมื่อสังคมออนไลน์มีบทบาทมากขึ้น "การศึกษาค้นคว้างานทางพระพุทธศาสนา...ในกาลต่อไป" จึงไม่จำกัดอยู่เพียงอาคารหลังใดหลังหนึ่ง
หากแต่สามารถเกิดขึ้นได้ในทุกสถานที่ ผ่านรูปแบบที่หลากหลาย และไร้ข้อจำกัดด้านกาลเวลา

"ญาณเวศก์.ออนไลน์" จึงเกิดขึ้นเพื่อการทดลองนำเสนอสื่อธรรม ในรูปแบบที่สร้างสรรค์ สมสมัย และสอดคล้องตามหลักพุทธธรรม
โดยมิได้มุ่งให้เกิดความเชื่ออย่างงมงาย หรือยึดติดในตัวบุคคล แต่เอื้อให้เกิดการตั้งคำถาม ตรวจสอบ ศึกษา และนำไปสู่การพัฒนา ทั้งในระดับชีวิตของปัจเจกบุคคล และระบบสังคม ที่มีต่อเพื่อนมนุษย์ และโลกทั้งมวล


เนื้อหาในเว็บไซต์นอกเหนือจากไฟล์หนังสือและไฟล์เสียงธรรมบรรยาย เป็นข้อมูลที่รวบรวมขึ้นใหม่เพื่อช่วยในการศึกษาค้นคว้าของผู้สนใจ โดยมิได้ผ่านการตรวจทานจากสมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์
ผู้ใช้พึงตรวจสอบกับตัวเล่มหนังสือหรือเสียงธรรมบรรยายต้นฉบับก่อนนำข้อมูลไปใช้ในการอ้างอิง