ตามรอย..อมฤตพจนา

ชวนร่วมศึกษา พุทธศาสนสุภาษิต จากหนังสือ อมฤตพจนา

เพื่อเป็นพื้นฐานในการศึกษาพุทธธรรม ให้ลึกซึ้งยิ่งขึ้นต่อไป

ทุกวัน อาทิตย์   ในพรรษา  (13 ก.ค. - 5 ต.ค. 68)

เวลา 19.00 - 20.00 น. 

เข้าร่วมกิจกรรม

ในวันที่จัดกิจกรรมก่อนเริ่ม 15 นาที  ที่ลิงก์ 
https://us02web.zoom.us/j/81101685933?pwd=TFNISy9nWFBvcDYwbTBlb0NNUWV4QT09
Meeting ID: 811 0168 5933
Passcode: 010
ได้รับความอนุเคราะห์ห้องประชุมซูมจากหอจดหมายเหตุพุทธทาส อินทปัญโญ

ฟังย้อนหลังได้

ทุกวันอาทิตย์ถัดไป ทาง ญาณเวศก์ออนไลน์ | ญาณเวศก์พอดแคสท์

 

"
... พุทธศาสนสุภาษิตในพระไตรปิฎกมีมากมาย

แต่ในหนังสือเล่มน้อยนี้ ได้พยายามเลือกสรรรวบรวมมา

ให้ครอบคลุมหลักทั่วไปที่ควรสนใจ และแปล ให้เข้าใจได้ง่าย

จัดไว้เป็นหมวดๆ ให้ศึกษาค้นคว้าได้สะดวก

พึงเข้าใจว่า พุทธศาสนสุภาษิตทั้งหมดในหนังสือนี้

เป็นเพียงคำสอน ส่วนเล็กน้อยจากพระไตรปิฎก

ผู้ศึกษาพึงใช้เป็นพื้นฐานเบื้องต้น

ในการที่จะวิจัยพุทธธรรมให้ลึกซึ้งยิ่งขึ้นต่อไป ...
"

จากความเป็นมา ของหนังสือ อมฤตพจนา




13 ก.ค. 68   [หนังสืออมฤตพจนา ข้อ  2.01 - 2.02]
"อตฺตา หิ อตฺตโน นาโถ โก หิ นาโถ ปโร สิยา
อตฺตนา หิ สุทนฺเตน นาถํ ลภติ ทุลฺลภํ"
ที่มา :  ขุททกนิกาย ธรรมบท 25/22.160  [บาลี | ไทย | มจร. | อรรถกถา]
ชวนอ่าน : อรรถกถา ขุททกนิกาย คาถาธรรมบท อัตตวรรคที่ ๑๒ เรื่องมารดาของพระกุมารกัสสปเถระ
 
20 ก.ค. 68   [หนังสืออมฤตพจนา ข้อ  3.12]
"ทูรงฺคมํ เอกจรํ อสรีรํ คุหาสยํ
เย จิตฺตํ สญฺญเมสฺสนฺติ โมกฺขนฺติ มารพนฺธนา"
ที่มา :  ขุททกนิกาย ธรรมบท 25/13.37  [บาลี | ไทย | มจร. | อรรถกถา]
ชวนอ่าน : อรรถกถา ขุททกนิกาย คาถาธรรมบท จิตตวรรคที่ ๓ เรื่องพระภาคิไนยสังฆรักขิตเถระ
 
27 ก.ค. 68   [หนังสืออมฤตพจนา ข้อ  4.04]
"วรมสฺสตรา ทนฺตา        อาชานียา จ สินฺธวา
กุญฺชรา จ มหานาคา อตฺตทนฺโต ตโต วรํ ฯ"
ที่มา :  ขุททกนิกาย ธรรมบท 25/33.322  [บาลี | ไทย | มจร. | อรรถกถา]
ชวนอ่าน : อรรถกถา ขุททกนิกาย คาถาธรรมบท นาควรรคที่ ๒๓ เรื่องการฝึกตน
 
3 ส.ค. 68   [หนังสืออมฤตพจนา ข้อ  4.06]
"โน เจ อสฺส สกา พุทฺธิ     วินโย วา สุสิกฺขิโต
วเน อนฺธมหึโสว จเรยฺย พหุโก ชโน ฯ"
ที่มา :  ขุททกนิกาย ชาดก สัตตกนิบาตชาดก คันธารวรรค คันธารชาดก 27/104.8
[บาลี | ไทย | มจร. | อรรถกถา]

ชวนอ่าน : อรรถกถา คันธารชาดก (ดู บาลี ประกอบ)
 
10 ส.ค. 68   [หนังสืออมฤตพจนา ข้อ  5.09]
" ยโถทเก อจฺเฉ วิปฺปสนฺเน
โส ปสฺสติ สิปฺปิกสมฺพุกญฺจ
สกฺขรํ วาลุกํ มจฺฉคุมฺพํ
เอวํ อนาวิลมฺหิ จิตฺเต
โส ปสฺสติ อตฺตทตฺถํ ปรตฺถนฺติ ฯ"
ที่มา :  ขุททกนิกาย ชาดก ทุกนิบาตชาดก อสทิสวรรค อนภิรติชาดก 27/220
[บาลี | ไทย | มจร. | อรรถกถา]

ชวนอ่าน : อรรถกถา อนภิรติชาดก (ดู บาลี ประกอบ)
 
17 ส.ค. 68   [หนังสืออมฤตพจนา ข้อ  6.15]
"สกมฺมุนา โหติ ผลูปปตฺติ" 
ที่มา :  ขุททกนิกาย ชาดก วิสตินิบาตชาดก  หัตถิปาลชาดก 27/2247
[บาลี | ไทย | มจร. | อรรถกถา]

ชวนอ่าน : อรรถกถา หัตถิปาลชาดก (ดู บาลี ประกอบ)
(อ่านโดยย่อ และอ้างถึง ภัทเทกรัตตสูตร)
 
24 ส.ค. 68   [หนังสืออมฤตพจนา ข้อ  7.29]
"อโหรตฺตมตนฺทิตํ         ตํ เว ภทฺเทกรตฺโตติ"
ที่มา :  มัชฌิมนิกาย อุปริปัณณาสก์  วิภังควรรค ภัทเทกรัตตสูตร 14/527
[บาลี | ไทย | มจร. | อรรถกถา]

ชวนอ่าน : ภัทเทกรัตตสูตร
 
31 ส.ค. 68   [หนังสืออมฤตพจนา ข้อ  13.04 - 13.05]
"โย จ ปุพฺเพ ปมชฺชิตฺวา     ปจฺฉา โส นปฺปมชฺชติ
โส อิมํ โลกํ ปภาเสติ อพฺภา มุตฺโตว จนฺทิมา
ยสฺส ปาปํ กตํ กมฺมํ              กุสเลน ปิถียติ
โส อิมํ โลกํ ปภาเสติ อพฺภา มุตฺโตว จนฺทิมา"
ที่มา :  ขุททกนิกาย ธรรมบท 25/23.172-3  [บาลี | ไทย | มจร. | อรรถกถา]
ชวนอ่าน :
- อรรถกถาเรื่อง พระสัมมัชชนเถระ
- อรรถกถาเรื่อง พระอังคุลิมาลเถระ
- อังคุลิมาลสูตร (มัชฌิมนิกาย มัชฌิมปัณณาสก์)
 
7 ก.ย. 68   [หนังสืออมฤตพจนา ข้อ  13.22]
"กมฺมุนา วตฺตตี โลโก"
ที่มา :  มัชฌิมนิกาย มัชฌิมปัณณาสก์  วาเสฏฐสูตร 13/707
[บาลี | ไทย | มจร. | อรรถกถา]

ชวนอ่าน : วาเสฏฐสูตร
 
14 ก.ย. 68   [หนังสืออมฤตพจนา ข้อ  16.05 - 16.07]
"สติ โลกสฺมิ ชาคโร"
"สติมโต สทา ภทฺทํ"
"สติมโต สุเว เสยฺโย"
ที่มา :  สังยุตตนิกาย สคาถวรรค
- เทวตาสังยุตต์ ฆัตวาวรรค ปัชโชตสูตร [บาลี | ไทย | มจร. | อรรถกถา]
- ยักขสังยุตต์ มณิภัททสูตร [บาลี | ไทย | มจร. | อรรถกถา]

ชวนอ่าน :
- ปัชโชตสูตร [บาลี, ไทย (มจร.)]
- มณิภัททสูตร [
บาลี, ไทย (มจร.)]
 
21 ก.ย. 68   [หนังสืออมฤตพจนา ข้อ  18.02]
"ยํ ยํ วิวหเต รตฺติ       ตทูนนฺตสฺส ชีวิตํ"
ที่มา :  ขุททกนิกาย เถรคาถา ฉักกนิบาต  สิริมัณฑเถรคาถา [26/359]
[บาลี | ไทย | มจร. | อรรถกถา]

ชวนอ่าน : สิริมัณฑเถรคาถา [มจร., อรรถกถา]
 
28 ก.ย. 68  
"อจิรํ วตยํ กาโย               ปฐวึ อธิเสสฺสติ
ฉุฑฺโฑ อเปตวิญฺญาโณ นิรตฺถํว กลิงฺครํ"
ที่มา :  ขุททกนิกาย ธรรมบท 25/13.41
[
บาลี | ไทย | มจร. | อรรถกถา]

ชวนอ่าน : อรรถกถา ขุททกนิกาย คาถาธรรมบท จิตตวรรคที่ ๓ เรื่องพระปูติคัตตติสสเถระ
 
5 ต.ค. 68   [หนังสืออมฤตพจนา ข้อ  18.18]
     "น หิ รุณฺณํ วา โสโก วา       ยาวญฺญา ปริเทวนา
น ตํ เปตานมตฺถาย เอวํ ติฏฺฐนฺติ ญาตโย"
ที่มา :  ขุททกนิกาย ขุททกปาฐะ ติโรกุฑฑสูตร [25/8]
[บาลี | ไทย | มจร. | อรรถกถา]

ชวนอ่าน : ติโรกุฑฑสูตร (พระสูตรนี้พระพุทธเจ้าตรัสแก่พระเจ้าพิมพิสาร ณ กรุงราชคฤห์)
-
บาลี [25/8.10 - 8.13]
-
ไทย (มจร.)

[หนังสืออมฤตพจนา ข้อ  18.19 - 18.23 (บทที่เป็นตัวหนา)]
      "น หิ รุณฺเณน โสเกน       สนฺตึ ปปฺโปติ เจตโส
ภิยฺยสฺสุปฺปชฺชเต ทุกฺขํ สรีรํ จุปหญฺญติ ฯ
กีโส วิวณฺโณ ภวติ หึสมตฺตานมตฺตนา
น เตน เปตา ปาเลนฺติ นิรตฺถา ปริเทวนา ฯ
โสกมปฺปชหํ ชนฺตุ ภิยฺโย ทุกฺขํ นิคจฺฉติ
อนุตฺถุนนฺโต กาลกตํ โสกสฺส วสมนฺวคู ฯ
อญฺเญปิ ปสฺส คมิเน ยถากมฺมูปเค นเร
มจฺจุโน วสมาคมฺม ผนฺทนฺเตวิธ ปาณิโน ฯ
เยน เยน หิ มญฺญนฺติ ตโต ตํ โหติ อญฺญถา
เอตาทิโส วินาภาโว ปสฺส โลกสฺส ปริยายํ ฯ
อปิ วสฺสสตํ ชีเว ภิยฺโย วา ปน มาณโว
ญาติสงฺฆา วินา โหติ ชหาติ อิธ ชีวิตํ ฯ
ตสฺมา อรหโต สุตฺวา วิเนยฺย ปริเทวิตํ
เปตํ กาลกตํ ทิตฺวา เนโส ลพฺภา มยา อิติ ฯ"
ที่มา :  ขุททกนิกาย สุตตนิบาต  สัลลสูตร [25/380]
[บาลี | ไทย | มจร. | อรรถกถา]

ชวนอ่าน : สัลลสูตร (มจร.)
(ขยายความตอนต้น และบางช่วงด้วย
อรรถกถา)
"ญาณเวศก์.ออนไลน์" เป็นช่องทางสื่อธรรมแนวทดลอง ที่เริ่มต้นจาก "หอญาณเวศก์ธรรมสมุจย์" ซึ่งเป็นอาคารหลังหนึ่งในวัดญาณเวศกวัน อ.สามพราน จ.นครปฐม
ตั้งขึ้นเพื่อ "ประโยชน์อันกว้างขวางมั่นคงถาวรในการศึกษาค้นคว้างานทางพระพุทธศาสนา แก่นักศึกษาและผู้สนใจในกาลต่อไป"

เมื่อสังคมออนไลน์มีบทบาทมากขึ้น "การศึกษาค้นคว้างานทางพระพุทธศาสนา...ในกาลต่อไป" จึงไม่จำกัดอยู่เพียงอาคารหลังใดหลังหนึ่ง
หากแต่สามารถเกิดขึ้นได้ในทุกสถานที่ ผ่านรูปแบบที่หลากหลาย และไร้ข้อจำกัดด้านกาลเวลา

"ญาณเวศก์.ออนไลน์" จึงเกิดขึ้นเพื่อการทดลองนำเสนอสื่อธรรม ในรูปแบบที่สร้างสรรค์ สมสมัย และสอดคล้องตามหลักพุทธธรรม
โดยมิได้มุ่งให้เกิดความเชื่ออย่างงมงาย หรือยึดติดในตัวบุคคล แต่เอื้อให้เกิดการตั้งคำถาม ตรวจสอบ ศึกษา และนำไปสู่การพัฒนา ทั้งในระดับชีวิตของปัจเจกบุคคล และระบบสังคม ที่มีต่อเพื่อนมนุษย์ และโลกทั้งมวล


เนื้อหาในเว็บไซต์นอกเหนือจากไฟล์หนังสือและไฟล์เสียงธรรมบรรยาย เป็นข้อมูลที่รวบรวมขึ้นใหม่เพื่อช่วยในการศึกษาค้นคว้าของผู้สนใจ โดยมิได้ผ่านการตรวจทานจากสมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์
ผู้ใช้พึงตรวจสอบกับตัวเล่มหนังสือหรือเสียงธรรมบรรยายต้นฉบับก่อนนำข้อมูลไปใช้ในการอ้างอิง