ร่วมกันศึกษาธรรมะ
น้อมนำสู่การปฏิบัติ ในทุกขณะของชีวิต
เพื่อพัฒนาภายในแห่งตน และสังคมส่วนรวม
อ่านตำรา ฟังธรรมบรรยาย ฝึกกรรมฐาน
ทุกคืนวันอาทิตย์ ๑๙.๓๐ - ๒๐.๓๐ น.
เริ่ม อา. ๑ ม.ค. ๖๖
ในวันที่จัดกิจกรรมก่อนเริ่ม ๑๕ นาที (๑๙.๑๕ น.) ที่ลิงก์
https://us02web.zoom.us/j/81101685933?pwd=TFNISy9nWFBvcDYwbTBlb0NNUWV4QT09
Meeting ID: 811 0168 5933
Passcode: 010
ได้รับความอนุเคราะห์ห้องประชุมซูมจากหอจดหมายเหตุพุทธทาส อินทปัญโญ
ภาพประกอบกิจกรรมโดย Apolar (อาชว์ - อรุษ เอ่งฉ้วน)
ทุกวันอาทิตย์ถัดไป ทาง ญาณเวศก์ออนไลน์ | ญาณเวศก์พอดแคสท์
ตามรอย..อริยวินัย
ม.ค. - ก.พ. ฟังธรรม หมวดการศึกษา / ศิลปศาสตร์
๐๑ ฟังธรรมเรื่อง "ฟังธรรมกถา เรื่อง อริยสัจสร้างอารยธรรมที่แท้"
๐๒ ฟังธรรมเรื่อง "ปรัชญาการศึกษาฉบับง่ายใช้ได้ทั่วโลก"
๐๓ ฟังธรรมเรื่อง "แสงอรุณยืนยันว่าสุริยันต์จะขึ้นมาอะไรหนายืนยันว่าชีวิตดีงามจะมี"
๐๔ ฟังธรรมเรื่อง "ฟังธรรมเรื่อง อยากเก่ง ดี มีสุข เลิศปัญญา ก็รีบสร้างปราโมทย์ขึ้นมา"
๐๕ ฟังธรรมเรื่อง พัฒนาชีวิตกันไปเถิด ความสุขจะเกิดมีแน่ ไม่หนีไปไหน
๐๖ ฟังธรรมเรื่อง เด็กยุคนี้โชคดี แต่จะจมอยู่กับที่หรือก้าวหน้าไป
๐๗ ฟังธรรมเรื่อง บทบาทของพ่อแม่ แน่แท้ช่วยให้ลูกศึกษา
๐๘ ฟังธรรมเรื่อง ที่ประกาศอิสรภาพของมนุษย์
๐๙ ฟังธรรมเรื่อง คนเช่นไร จะรักษาธรรมไว้ได้ในสังคม
มี.ค. - พ.ค. ฟังธรรม หมวดนิติศาสตร์ / รัฐศาสตร์
๑๐ ฟังธรรมเรื่อง โลกเดี๋ยวนี้ขัดแย้งกันมากมาย จะแก้ไหวหรือ
๑๑ ฟังธรรมเรื่อง นิติศาสตร์แนวพุทธ ช่วงที่ ๓
๑๒ ฟังธรรมเรื่อง พุทธรัฐศาสตร์
๑๓ ฟังธรรมเรื่อง ความรุนแรงเกิดจากความอ่อนแอ ความเป็นกลางแท้อยู่ที่ถือความถูกต้อง
๑๔ ฟังธรรมเรื่อง พระพุทธศาสนาเพื่อสันติภาพของโลก
๑๕ ฟังธรรมเรื่อง วิถีสู่สันติภาพ
๑๖ ฟังธรรมเรื่อง สิทธิมนุษยชน
๑๗ ฟังธรรมเรื่อง รัฐศาสตร์เพื่อชาติ vs รัฐศาสตร์เพื่อโลก
๑๘ ฟังธรรมเรื่อง จะมีตนที่พึ่งได้ ต้องมีธรรมและปัญญาที่จะตัดสินใจ
๑๙ ฟังธรรมเรื่อง จริยธรรม ภาวะผู้นำ ช่วงที่ ๑
๒๐ ฟังธรรมเรื่อง จริยธรรม ภาวะผู้นำ ช่วงที่ ๒
๒๑ ฟังธรรมเรื่อง จะสมานฉันท์ ต้องสมานปัญญา
มิ.ย. - ก.ค. ฟังธรรม หมวดเศรษฐศาสตร์
- เศรษฐศาสตร์-เศรษฐกิจ เตลิดออกนอกทิศทางไปหรือเปล่า
- ทบทวนเศรษฐศาสตร์ ๑ - ทำงานเพราะโลภอยากได้ หรือเพราะถูกเงื่อนไขบังคับ
- ทบทวนเศรษฐศาสตร์ ๒ - พัฒนาเศรษฐกิจไป อย่าลืมใช้เศรษฐกิจพัฒนาคน
- การศึกษากับเศรษฐกิจฝ่ายไหนจะรับใช้ฝ่ายไหน
- สนทนาธรรมเรื่องเศรษฐกิจพอเพียง
ส.ค. - ต.ค. ฟังธรรม หมวดสุขภาวะองค์รวม
- รักงาน คือรักแค่ไหน มีปัญญา คือรู้เท่าใด
- รักนั้นดีแน่ แต่รักแท้ดีกว่า
- ความรู้ ต้องมาเข้าคู่กับความรัก
- สุขที่สมาน ประสานกับรักที่แท้
ฟังธรรม หมวดสุขภาวะองค์รวม (ความป่วย-ความตาย)
- พุทธธรรมกับการรักษาคนไข้
- ช่วยคนจะตาย จนถึงวาระสุดท้ายจริงๆ
- เรื่องตายแล้วฟื้นไม่เท่าไร เรื่องใหญ่คือตายอย่างไรจะแน่ใจว่าดี
พ.ย. - ธ.ค. ฟังธรรม หมวดการพัฒนาที่ยั่งยืน
- ถ้าเข้าถึงความจริงของธรรมชาติ แล้วเอามาจัดการชีวิตและสังคมให้ดีได้
ก็จบความหมายของพระพุทธศาสนา
- การพัฒนาที่ยั่งยืน
- สังคมต้องหลากหลาย ให้เข้ากับระดับการพัฒนาของคน
- การพัฒนาที่ดีหนีไม่พ้นธรรม
การฝึกวิปัสสนากรรมฐาน
๐๑ ฟังธรรมเรื่อง "ความแตกต่างระหว่างสมถะและวิปัสสนา"
๐๒ ฟังธรรมเรื่อง "บัญญัติ ปรมัตถ์"
๐๓ ฟังธรรมเรื่อง "เริ่มจากบัญญัติไปสู่ปรมัตถ์"
๐๔ ฟังธรรมเรื่อง "วิธีเพิกสมมติบัญญัติ"
๐๕ ฟังธรรมเรื่อง "อานาปานสติสู่วิปัสสนา"
๐๖ ฟังธรรมเรื่อง "อภิธรรมจริง"
๐๗ ฟังธรรมเรื่อง "จิตคือผู้รู้"
๐๘ ฟังธรรมเรื่อง "ระลึกรู้ รู้ผู้รู้"
๐๙ ฟังธรรมเรื่อง "จิต เจตสิก รูป นิพพาน"
๑๐ ฟังธรรมเรื่อง "วิปัสสนาภูมิ ๖"
๑๑ ฟังธรรมเรื่อง "รูปนามกับภาวะไตรลักษณ์"
๑๒ ฟังธรรมเรื่อง "ชีวิตเป็นเพียงขันธ์ ๕ "
๑๓ ฟังธรรมเรื่อง "การตามรู้จิต"
๑๔ ฟังธรรมเรื่อง "แม่บทหลักของการปฏิบัติธรรม" (กิจในทุกขสัจจ์)
๑๕ ฟังธรรมเรื่อง "แม่บทหลักของการปฏิบัติธรรม" (กิจในสมุทัย นิโรธ มรรค)
๑๖ ฟังธรรมเรื่อง "การเจริญสติในชีวิตประจำวัน"
๑๗ ฟังธรรมเรื่อง "จุดอ่อนของนักปฏิบัติธรรม"
๑๘ ฟังธรรมเรื่อง "การเจริญสติปัฏฐาน" (กาย)
๑๙ ฟังธรรมเรื่อง "การเจริญสติปัฏฐาน" (เวทนา, จิต, ธรรม)
๒๐ ฟังธรรมเรื่อง "แนวทางปฏิบัติโพธิปักขิยธรรม ๓๗ ประการ"
๒๑ ฟังธรรมเรื่อง "ประทีปส่องธรรม"
๒๒ ฟังธรรมเรื่อง "จงสร้างเหตุแห่งพระนิพพาน"
๒๓ ฟังธรรมเรื่อง ตำแหน่งของข้อปฏิบัติทางจิตใจในระบบพระพุทธศาสนา (ช่วงที่ ๑)
๒๔ ฟังธรรมเรื่อง ตำแหน่งของข้อปฏิบัติทางจิตใจในระบบพระพุทธศาสนา (ช่วงที่ ๒ พระพุทธเจ้าตรัสรู้อะไร)
๒๕ ฟังธรรมเรื่อง ตำแหน่งของข้อปฏิบัติทางจิตใจในระบบพระพุทธศาสนา (ช่วงที่ ๓ มรรค)
๒๖ ฟังธรรมเรื่อง ตำแหน่งของข้อปฏิบัติทางจิตใจในระบบพระพุทธศาสนา (ช่วงที่ ๔ ภาวนา ๔)
๒๗ ฟังธรรมเรื่อง ความสัมพันธ์ระหว่างจิตภาวนากับปัญญาภาวนา (ช่วงที่ ๑)
๒๘ ฟังธรรมเรื่อง ความสัมพันธ์ระหว่างจิตภาวนากับปัญญาภาวนา (ช่วงที่ ๒)
๒๙ ฟังธรรมเรื่อง ความสัมพันธ์ระหว่างจิตภาวนากับปัญญาภาวนา (ช่วงที่ ๓)
๓๐ ฟังธรรมเรื่อง จากจิตภาวนาสู่ปัญญาภาวนาตามวิธีสติปัฏฐาน (ช่วงที่ ๑)
๓๑ ฟังธรรมเรื่อง จากจิตภาวนาสู่ปัญญาภาวนาตามวิธีสติปัฏฐาน (ช่วงที่ ๒) ความหมายของวิปัสสนา
๓๒ ฟังธรรมเรื่อง วิปัสสนาภูมิ ๖ (ช่วงที่ ๑) ขันธ์, อายตนะ
๓๓ ฟังธรรมเรื่อง วิปัสสนาภูมิ ๖ (ช่วงที่ ๒) ธาตุ อินทรีย์ อริยสัจ ปฏิจจสมุปบาท
๓๔ ฟังธรรมเรื่อง โพธิปักขิยธรรม ๓๗
๓๕ ฟังธรรมเรื่อง โพธิปักขิยธรรม ๓๗ (ช่วงที่ ๒) : โพชฌงค์, อริยมรรค
๓๖ ฟังธรรมเรื่อง วิสุทธิ ๗
๓๗ ฟังธรรมเรื่อง วิปัสสนาญาณ ๙ และ ญาณ ๑๖
๓๘ ฟังธรรมเรื่อง ปริญญา ๓, อนุปัสสนา ๓, ตัวอุปสรรคในกระบวนการปฏิบัติ
๓๙ ฟังธรรมเรื่อง เกี่ยวกับวิปัสสนาและสติปัฏฐาน
๔๐ ฟังธรรมเรื่อง กายานุปัสสนาสติปัฏฐาน
๔๑ ฟังธรรมเรื่อง เวทนา-จิตตา-ธรรมานุปัสสนาสติปัฏฐาน, ข้อสังเกตและข้อแตกต่าง
๔๒ หลักการปฏิบัติ ความมุ่งหมาย และตัวทำงาน และเรื่อง วิธีการกำหนดและวางใจ
๔๓ ฟังธรรมเรื่อง วิธีการกำหนด วางใจ และกระบวนวิธีปฏิบัติ เทคนิคในการเจริญสติปัฏฐาน
๔๔ การใช้อานาปานสติโยงสู่สติปัฏฐาน ๔ และลำดับการปฏิบัติในการเจริญอานาปานสติ ๑๖ ขั้น
๔๕ ฟังธรรมเรื่อง ข้อควรทราบเกี่ยวกับอานาปานสติสูตร
๔๖ ฟังธรรมเรื่อง ข้อควรทราบเกี่ยวกับอานาปานสติสูตร (นิวรณ์ ๕ องค์ฌาน ๕ ธรรมสมาธิ ๕)
๔๗ ฟังธรรมเรื่อง ลำดับการปฏิบัติ อานาปานสติ :: ยืน นั่ง ฟัง เดิน เจริญ สติ
๔๘ ฟังธรรมเรื่อง ลำดับฝึกอานาปานสติ กายานุปัสสนาสติปัฏฐาน และเวทนานุปัสสนาสติปัฏฐาน
๔๙ ฟังธรรมเรื่อง ลำดับฝึกอานาปานสติ จิตตานุปัสสนาสติปัฏฐานและธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐาน
๕๐ ฟังธรรมเรื่อง ความสำเร็จของการปฏิบัติ - โพชฌงค์ ๗
๕๑ ฟังธรรมเรื่อง สมถะ-วิปัสสนา (ตอนแรก)
๕๒ ฟังธรรมเรื่อง สมถะ-วิปัสสนา (ตอนจบ)
การฝึกสมถกรรมฐาน
๑. สติ
๑.๑ นาฬิกาตาย
๑.๒ คุณค่าของชีวิต การงาน และทุกเวลาปัจจุบัน
๑.๓ สติทำกิจสำคัญทั้งในสมถะ และในวิปัสสนา
๑.๔ บุญในทุกขณะของชีวิต
๒.๐ ฝึก หัด ดัด - จริต : พัฒนาชีวิต ทำจิตใจให้งดงาม
๒. พรหมวิหารกรรมฐาน (แบบฝึกหัดสำหรับโทสะจริต)
๒.๐๑ ฝึก หัด ดัด - จริต
๒.๐๒ รักแล้วทุกข์ หรือถึงสุข สู่สวรรค์
๒.๐๓ ฝึก ชม
๒.๐๔ รัก + รู้
๒.๐๕ จงรักเพื่อนบ้าน จงรักศัตรู
๒.๐๖ เมตตาตัวเอง
๒.๐๗ เมตตาต่อบุคคลในครอบครัว
๒.๐๘ เมตตาต่อเพื่อนมนุษย์
๒.๐๙ เมตตาภาวนาเพื่อการเยียวยาตนเอง
๒.๑๐ เมตตาภาวนาเพื่อการเยียวยาตนเอง ตอนที่ ๒
๓. กายคตาสติ (แบบฝึกหัดสำหรับราคะจริต)
๓.๐๑ งด-งาม
๓.๐๒ ฝึกดูกาย คลายความหลงในกาม
๓.๐๓ กายคตาสติ กรรมฐานแนะนำสำหรับราคะจริต
๓.๐๔ กายคตาสติสูตร
๔. มรณานุสสติ (แบบฝึกหัดสำหรับพุทธิจริต)
๔.๐๑ เผชิญความแก่ อย่างผ่องใส
๔.๐๒ เผชิญความป่วยไข้ อย่างเข้าใจ
๔.๐๓ เผชิญความตาย (อย่างไร) ดี
๔.๐๔ ก่อนจากลา หลังจากตาย
๔.๐๕ ทุกขณะ อาจเป็น ลมหายใจ สุดท้าย
๔.๐๖ ความตาย เตือนให้ดี ไม่ต้องเดี๋ยว
๔.๐๗ ฝึกเทคนิค แม้จะตาย ก็สบายใจได้
๔.๐๘ วิธีเจริญมรณสติ ตามวิสุทธิมรรค (๑)
๔.๐๙ วิธีเจริญมรณสติ ตามวิสุทธิมรรค (๒)
๔.๑๐ นักโทษประหาร | เฉลยปริศนา นักโทษประหาร
๕. อนุสสติ (แบบฝึกหัดสำหรับศรัทธาจริต)
๕.๐๑ พุทธานุสติ
๕.๐๒ พุทธานุสติ (๒)
๕.๐๓ ธัมมานุสติ
๕.๐๔ สังฆานุสติ
๕.๐๕ สีลานุสติ จาคานุสติ เทวตานุสติ
๖. อานาปานสติ (แบบฝึกหัดสำหรับวิตกจริต)
๖.๐๑ การฝึกอานาปานสติเบื้องต้น
๖.๐๒ ช่วงถาม-ตอบ การฝึกอานาปานสติเบื้องต้น
๖.๐๓ ลำดับขั้นการฝึกอานาปานสติ
๖.๐๔ ช่วง ถาม-ตอบ ลำดับขั้นการฝึกอานาปานสติ
๖.๐๕ การวางจิตก่อนเจริญอานาปานสติ
๖.๐๖ ช่วง ถาม-ตอบ การว่างจิตก่อนเจริญอานาปานสติ
๖.๐๗ อานาปานสติ ฝึกจนเคยก็ไม่ยาก
๖.๐๘ ช่วงถาม-ตอบ อานาปานสติ ฝึกจนเคยก็ไม่ยาก
๖.๐๙ อานาปานสติขั้นเตรียมการ
๖.๑๐ เจริญสติอิริยาบถเดิน
๖.๑๑ อานาปานสติ : พิจารณารูป-นาม
๖.๑๒ วันคืนแห่งการปฏิบัติธรรม
๗. วิปัสสนากรรมฐาน
๗.๐๑ สภาวะธรรมตามความเป็นจริง
๗.๐๒ เจริญวิปัสสนาไปเพื่ออะไร
๗.๐๓ สัมปชัญญะ
๗.๐๔ สติปัฏฐาน
๗.๐๕ ปุจฉา-วิสัชนา การฝึกวิปัสสนา กับพระอาจารย์โชติก
๗.๐๖ กายานุปัสนาสติปัฎฐาน
๗.๐๗ เวทนานุปัสสนาสติปัฏฐาน
๗.๐๘ จิตตานุปัสสนาสติปัฏฐาน ธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐาน