อ่าน ฟัง นั่ง เดิน เจริญกุศล
ซีซั่น 4 : อ่านหนังสือ "ตามพระใหม่ ไปเรียนธรรม"


ชวนกัน อ่านหนังสือ "ตามพระใหม่ ไปเรียนธรรม"
ธรรมนิพนธ์เล่มใหม่ล่าสุด ของสมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์
เพื่อน้อมนำสู่การปฏิบัติ ในทุกขณะของชีวิต
เพื่อพัฒนาภายในแห่งตน และสังคมส่วนรวม

 

อ่านตำรา ฟังธรรมบรรยาย ฝึกกรรมฐาน
ทุกคืนวันอาทิตย์ จนครบทั้ง 60 ตอน
ทุกวัน อา.  (3 ธ.ค. 66 - 12 ม.ค. 68 )
เวลา 19.00 - 20.00 น.
 

 

เข้าร่วมกิจกรรม

ในวันที่จัดกิจกรรมก่อนเริ่ม 15 นาที  ที่ลิงก์ 
https://us02web.zoom.us/j/81101685933?pwd=TFNISy9nWFBvcDYwbTBlb0NNUWV4QT09
Meeting ID: 811 0168 5933
Passcode: 010

ได้รับความอนุเคราะห์ห้องประชุมซูมจากหอจดหมายเหตุพุทธทาส อินทปัญโญ

 

ฟังย้อนหลังได้

ทุกวันอาทิตย์ถัดไป ทาง ญาณเวศก์ออนไลน์ | ญาณเวศก์พอดแคสท์

 

รายการ ซีซั่น 4  (พ.ศ. 2567)

อ่านหนังสือ "ตามพระใหม่  ไปเรียนธรรม"
ภาค ๑  วางฐานชีวิตแห่งการศึกษา
ตอนที่ ๑ บวชอย่างไร พ่อแม่ปู่ย่าตายาย จะได้บุญมาก
ตอนที่ ๒ ออกจากบ้าน พ้นเขตคาม สู่อาราม แดนรมณีย์
ตอนที่ ๓ พอบวชเสร็จ เป็นพระใหม่ อะไรทำได้ ทำไม่ได้ ต้องรู้ทันที
ตอนที่ ๔ พอเข้าวัดพบศาสนา ก็เห็นการบูชา จึงต้องรู้ว่า จะบูชาอย่างไรดี
ตอนที่ ๕ ชีวิตพระใหม่ ได้เริ่มต้นอย่างนี้ ก็พอที่จะชื่นใจ ว่าเราได้บวชเรียนดี
ตอนที่ ๖ ชีวิตงาม สังคมดี ธรรมชาติก็รมณีย์ เมื่อพระสงฆ์มีธรรมให้แก่ประชาชน

ภาค ๒ แค่ดูเปลือก ถ้ามองเป็น ก็เห็นพระพุทธศาสนา
ตอนที่ ๗ ตัวมีชื่อว่าเป็นพระ แต่ถ้าไม่ปฏิบัติให้ถูก ก็แค่คือกันกับหมอผี
ตอนที่ ๘ สวดมนต์เป็นเรื่องใหญ่ สวดกันทำไม ต้องรู้ให้ชัด
ตอนที่ ๙ พุทธศาสนาเกิดขึ้นมา มิใช่ว่าพิธีกรรมจะไร้ความหมาย
ตอนที่ ๑๐ ถ้าไม่ถือแบบงมงาย ก็อาจใช้พิธีกรรมมาสื่อธรรมให้ถึงคน
ตอนที่ ๑๑ วัตถุมงคล ต้องใช้ผูกใจประชาชนไว้กับธรรม
ตอนที่ ๑๒ เอาวัตถุมงคลมาเป็นบันได พัฒนาคนขึ้นไปให้เหนือวัตถุมงคล
ตอนที่ ๑๓ นับถือเทวดายังพอฟัง แต่ถ้ามัวหวังพึ่งขอผล ก็หล่นจากหลักพุทธหลุดลอยไป
ตอนที่ ๑๔ ถ้ารู้ภูมิหลังของอินเดียสักหน่อย จะค่อยเห็นแก่นของพระพุทธศาสนา

ภาค ๓ เปิดประตูชีวิต ก้าวไปในการศึกษา
ตอนที่ ๑๕ ธรรมชาติของมนุษย์อยู่ตรงนี้ คือ จะดี จะเลิศ สุดประเสริฐ ด้วยการศึกษา
ตอนที่ ๑๖ ธรรมะมีความหมายมากมาย รู้ไว้แค่ ๔ เริ่มที่ ธรรมชาติ กับ ธรรมดา
ตอนที่ ๑๗ การศึกษาเริ่มที่ตาหู จะดูฟังได้แค่ตัณหา หรือไปถึงปัญญา ก็มาลุ้นกัน
ตอนที่ ๑๘ ถ้าอยู่แค่รู้สึก ก็เป็นคนพาล เอารู้มาประสานสู่ปัญญา บัณฑิตจึงมา อารยธรรมจึงมี
ตอนที่ ๑๙ อารยธรรมมนุษย์หนีวงจรเจริญแล้วเสื่อมไม่ได้ เพราะว่ายวนอยู่แค่ในกระแสตัณหา
ตอนที่ ๒๐ อะไรกันคนไทย ยังแยกไม่ได้ว่า สันโดษไหนร้าย สันโดษไหนดี
ตอนที่ ๒๑ ทุกร้าย-ดี มีความอยากเป็นรากเหง้า มาพวกเราชวนกันอยากทำให้มันดี
ตอนที่ ๒๒ อยากเรียนเก่ง อยากมีสมาธิ อยากสำเร็จ...ไม่ยาก หากใช้อิทธิบาท ๔

ภาค ๔ สังคมไทย จะก้าวไปดี คนไทยต้องช่วยกันดัน
ตอนที่ ๒๓ แค่เมตตากรุณา คนไทยก็หลงป่า มุทิตา-อุเบกขา จึงไปไม่ถึง
ตอนที่ ๒๔ คนด้อยพัฒนา นอนรอเทวดามาช่วย อารยชนเพียรพึ่งตนและชวนคนให้ช่วยกัน
ตอนที่ ๒๕ เขารู้เขารู้เรา แต่เรา ไม่รู้ทั้งเราทั้งเขา
ตอนที่ ๒๖ ชาวพุทธไทย ปฏิบัติธรรมกันอย่างไร? ให้คนข้างนอกเขาเอาไปดูถูกได้

ภาค ๕ จากไตรสิกขา สู่มรรคภาวนา
ตอนที่ ๒๗ ถ้าเข้าถึงความจริงของธรรมชาติ แล้วเอามาจัดการชีวิตและสังคมให้ดีได้
ก็จบความหมายของพระพุทธศาสนา
ตอนที่ ๒๘ ถึงเวลาที่ชาวพุทธไทยจะพิสูจน์ตัวว่าไหวไหม ที่จะก้าวไปในศาสนาแห่งปัญญา
ตอนที่ ๒๙ แม้ฝูงนกและกลีบดอกไม้ก็มีวินัยโดยธรรมชาติ ดีกว่าคน ถ้าขาดปัญญา ไม่รู้จักวินัย
ตอนที่ ๓๐ การพัฒนาชีวิต พัฒนาสังคม จะไม่ล่มสลาย ถ้าวินัยยังอยู่เป็นฐาน
ตอนที่ ๓๑ ฝึกคนครบ ๓ แดน คนก็จะพัฒนา ๔ ด้าน
ตอนที่ ๓๒ สมาธิมิใช่ให้มัวติดสุข มิใช่ให้มาขลุกกับความขลัง แต่มุ่งให้เป็นฐานกำลังของการพัฒนาปัญญา
ตอนที่ ๓๓ ฝึกคนด้วยการศึกษา แห่งไตรสิกขา เขาก็ก้าวหน้าไปในวิถีชีวิตดีงาม ที่เรียกว่ามรรค
ตอนที่ ๓๔ อยากได้สมาธิกันนักหนา ถ้าไม่เอาสติมานำหน้า ทางสำเร็จก็ไม่มี
ตอนที่ ๓๕ อยากเป็นคนมีปัญญาดี ถ้าสติไม่มี ก็หมดทางเจริญปัญญา
ตอนที่ ๓๖ ในยุคข่าวสาร ต้องมีปัญญาแตกฉาน ทั้งภาครับ และภาคแสดง
ตอนที่ ๓๗ รู้จักไว้ การเจริญวิปัสสนา ที่สืบสายมาตามแบบแผน
ตอนที่ ๓๘ นับถือพระพุทธศาสนาไม่ใช่แค่มีที่พึ่งพาไว้ยึดเหนี่ยวหรือปลอบประโลมใจ

ภาค ๖ จากพระรัตนตรัย สู่อริยสัจ
ตอนที่ ๓๙ ถ้านับถือพระรัตนตรัย ไม่ต้องมีใครมาเคี่ยวเข็ญ ก็สำนึกถึงความจำเป็น ที่จะต้องฝึกตนยิ่งขึ้นไป
ตอนที่ ๔๐ ญาติโยมก็รักษาอุโบสถ พระสงฆ์ก็ลงอุโบสถ เป็นมาเป็นไปและแตกต่างกันอย่างไร
ตอนที่ ๔๑ ถ้าพึ่งพระรัตนตรัยถูกต้อง ก็ก้าวไปถึงธรรม พอถึงธรรม เป็นอิสระแท้ ก็ไม่ต้องพึ่งอะไรๆ
ตอนที่ ๔๒ จะพูดถึงอริยสัจสี่กันสักเท่าไร ก็ไม่มีทางเข้าใจ ถ้าไม่รู้หลักหน้าที่ต่ออริยสัจ
ตอนที่ ๔๓ ออกนอกเนื้อ มาดูหนังอริยสัจกันหน่อย
ตอนที่ ๔๔ ดูขันธ์ ๕ ให้เห็นการทำงานของชีวิต พอได้พื้นความเข้าใจที่จะไปเรียนอริยสัจ
ตอนที่ ๔๕ ดูมรรคมีองค์ ๘ ให้เห็นวิถีชีวิตที่ดีงาม ว่าดำเนินไปอย่างไร
ตอนที่ ๔๖ ทางชีวิตดีงามมีอยู่ก็ดีแล้ว แต่คนที่ยังอยู่นอกทางเล่า ทำอย่างไรจะให้เขาเข้ามาเดิน
ตอนที่ ๔๗ ถึงไม่มีใครไปพามา ถ้าเขารู้จักคิดแยบคาย ก็จะมาเข้าทางที่ถูกได้ ด้วยตัวเขาเอง
ตอนที่ ๔๘ แสงอรุณนำหน้าบอกการขึ้นมาของดวงอาทิตย์ ชีวิตที่ดีก็มีธรรมรังสีนำหน้า ๗ ประการ ตอนที่ ๑
ตอนที่ ๔๙ แสงอรุณนำหน้าบอกการขึ้นมาของดวงอาทิตย์ ชีวิตที่ดีก็มีธรรมรังสีนำหน้า ๗ ประการ ตอนที่ ๒
ตอนที่ ๕๐ พอแสงอรุณขึ้นมา ๗ รัศมี วิถีของอารยชนก็เริ่มปรากฏขึ้นมา

ภาค ๗ ทางแห่งความสุข
ตอนที่ ๕๑ ให้ชาวบ้านทำบุญด้วยทาน ศีล ภาวนา ชาวบ้านไม่ต้องศึกษาหรืออย่างไร
ตอนที่ ๕๒ รักษาศีล ๘ อย่าพูดแค่ว่าได้บุญ ต้องรู้ว่าศีล ๘ มาหนุนให้ก้าวไปพัฒนาจิตปัญญาอย่างไร
ตอนที่ ๕๓ ถ้ารู้คุณค่าของศีล ๘ ถูกต้องแล้ว จะรักษาอุโบสถแบบไหนๆ ก็เลือกได้อย่างพุทธิกชนที่ดี
ตอนที่ ๕๔ จะไปนั่งสมาธิ หรือเข้าวิปัสสนา ก็มาทำความเข้าใจให้มีพื้นกันไว้ก่อน
ตอนที่ ๕๕ หนีทุกข์ อยากมีสุขกันนัก แต่ไม่รู้จักว่า เจอมันเข้า จะเอาอย่างไร
ตอนที่ ๕๖ อารยธรรมที่แท้ ไม่อยู่แค่สัญชาตญาณ นำความเจริญก้าวหน้า มากับความสุข
ที่ไม่มีการมากับมา มากับความสุข ที่ไม่มีการเบียดเบียน
- เรื่องผนวกไว้เป็นกรณีศึกษา: มองดูปัจจัยในอารยธรรมอเมริกัน
ตอนที่ ๕๗ ชีวิตและสังคมทุกข์ระทมถึงวิกฤต ก็เพราะคนจมติดอยู่แค่ความสุขที่พึ่งพาการเสพ
ตอนที่ ๕๘ มีความสุขไว้ในตัวเลยดีกว่า อย่าเป็นคนขาดไร้ไม่มีความสุข ที่ต้องไปวิ่งหา
ตอนที่ ๕๙ สุขแท้มีทุกที่ทุกเวลา ไม่ต้องหา ไม่ต้องสร้าง
ตอนที่ ๖๐ คนจะพัฒนาได้ ต้องมีวินัยเป็นฐาน สังคมพุทธไทยต้องรีบฟื้นวินัยขึ้นมาให้ทันกาล

 

รายการ ซีซั่น 3  (พ.ศ. 2566)

ตามรอย..อริยวินัย
ม.ค. - ก.พ.   ฟังธรรม หมวดการศึกษา / ศิลปศาสตร์

๐๑ ฟังธรรมเรื่อง "ฟังธรรมกถา เรื่อง อริยสัจสร้างอารยธรรมที่แท้"
๐๒  ฟังธรรมเรื่อง "ปรัชญาการศึกษาฉบับง่ายใช้ได้ทั่วโลก"
๐๓ ฟังธรรมเรื่อง "แสงอรุณยืนยันว่าสุริยันต์จะขึ้นมาอะไรหนายืนยันว่าชีวิตดีงามจะมี"
๐๔ ฟังธรรมเรื่อง "ฟังธรรมเรื่อง อยากเก่ง ดี มีสุข เลิศปัญญา ก็รีบสร้างปราโมทย์ขึ้นมา"
๐๕ ฟังธรรมเรื่อง พัฒนาชีวิตกันไปเถิด ความสุขจะเกิดมีแน่ ไม่หนีไปไหน

๖ ฟังธรรมเรื่อง เด็กยุคนี้โชคดี แต่จะจมอยู่กับที่หรือก้าวหน้าไป
๐๗ ฟังธรรมเรื่อง บทบาทของพ่อแม่ แน่แท้ช่วยให้ลูกศึกษา
๐๘ ฟังธรรมเรื่อง ที่ประกาศอิสรภาพของมนุษย์
๐๙ ฟังธรรมเรื่อง คนเช่นไร จะรักษาธรรมไว้ได้ในสังคม

มี.ค. - พ.ค. ฟังธรรม หมวดนิติศาสตร์ / รัฐศาสตร์
๑๐  ฟังธรรมเรื่อง โลกเดี๋ยวนี้ขัดแย้งกันมากมาย จะแก้ไหวหรือ
๑๑ ฟังธรรมเรื่อง นิติศาสตร์แนวพุทธ ช่วงที่ ๓
๑๒ ฟังธรรมเรื่อง พุทธรัฐศาสตร์
๑๓ ฟังธรรมเรื่อง ความรุนแรงเกิดจากความอ่อนแอ ความเป็นกลางแท้อยู่ที่ถือความถูกต้อง
๑๔ ฟังธรรมเรื่อง พระพุทธศาสนาเพื่อสันติภาพของโลก
๑๕ ฟังธรรมเรื่อง วิถีสู่สันติภาพ
๑๖ ฟังธรรมเรื่อง สิทธิมนุษยชน
๗ ฟังธรรมเรื่อง รัฐศาสตร์เพื่อชาติ vs รัฐศาสตร์เพื่อโลก
๑๘ ฟังธรรมเรื่อง จะมีตนที่พึ่งได้ ต้องมีธรรมและปัญญาที่จะตัดสินใจ
๑๙ ฟังธรรมเรื่อง จริยธรรม ภาวะผู้นำ ช่วงที่ ๑
๒๐ ฟังธรรมเรื่อง จริยธรรม ภาวะผู้นำ ช่วงที่ ๒
๒๑ ฟังธรรมเรื่อง จะสมานฉันท์ ต้องสมานปัญญา
๒๒ ฟังธรรมเรื่อง การสร้างสรรค์ประชาธิปไตย
มิ.ย. - ก.ค.  ฟังธรรม หมวดเศรษฐศาสตร์
๒๓  ฟังธรรมเรื่อง เศรษฐศาสตร์-เศรษฐกิจ เตลิดออกนอกทิศทางไปหรือเปล่า
๒๔ ฟังธรรมเรื่อง เศรษฐกิจพอเพียง
๒๕ ฟังธรรมเรื่อง การศึกษากับเศรษฐกิจฝ่ายไหนจะรับใช้ฝ่ายไหน
๒๖ ฟังธรรมเรื่อง ทำงานเพราะโลภอยากได้ หรือเพราะถูกเงื่อนไขบังคับ
๒๗ ฟังธรรมเรื่อง พัฒนาเศรษฐกิจไป อย่าลืมใช้เศรษฐกิจพัฒนาคน
๒๘ ฟังธรรมเรื่อง งานก็ได้ผล คนก็เป็นสุข : อ่าน ฟัง นั่ง เดิน เจริญกุศล
๒๙ ฟังธรรมเรื่อง บริหารคนต้องให้ได้ทั้งใจ ไปถึงทั้งโลก
๓๐ ฟังธรรมเรื่อง เมื่ออาชีพเป็นปัญหา ใช้เสรีภาพที่มีธรรมมีปัญญามาตัดสินใจ
ส.ค. - ต.ค.  ฟังธรรม หมวดสุขภาวะองค์รวม 

๓๑ ฟังธรรมเรื่อง รักงานคือรักแค่ไหน มีปัญญาคือรู้เท่าใด
๓๒ ฟังธรรมเรื่อง ฟื้นสุขภาวะยามสังคมวิกฤต ตอน ๑ ช่วงแรก
๓๓ ฟังธรรมเรื่อง ฟื้นสุขภาวะยามสังคมวิกฤต ตอน ๑ ช่วงหลัง
๓๔ ฟังธรรมเรื่อง ฟื้นสุขภาวะยามสังคมวิกฤต ตอน ๒ ครึ่งแรก
๓๕ ฟังธรรมเรื่อง ฟื้นสุขภาวะยามสังคมวิกฤต ตอน ๒ ครึ่งหลัง
๓๖ ฟังธรรมเรื่อง ฟื้นสุขภาวะยามสังคมวิกฤต ตอน ๓
๓๗ ฟังธรรมเรื่อง พระธรรมปิฎกชี้ทางหยุดฆ่าตัวตาย
๓๘ ฟังธรรมเรื่อง รักนั้นดีแน่ แต่รักแท้ดีกว่า
๓๙ ฟังธรรมเรื่อง ความรู้ต้องมาเข้าคู่กับความรัก
๔๐ ฟังธรรมเรื่อง สุขที่สมาน ประสานกับรักที่แท้
๔๑ ฟังธรรมเรื่อง พุทธธรรมกับการรักษาคนไข้
๔๒ ฟังธรรมเรื่อง จะเป็นนักทำงานที่แท้ได้ ต้องรู้จักขยายโลกทัศน์
๔๓ ฟังธรรมเรื่อง เรื่องตายแล้วฟื้นไม่เท่าไร เรื่องใหญ่คือตายอย่างไรจะแน่ใจว่าดี
๔๔ ฟังธรรมเรื่อง ช่วยคนจะตาย จนถึงวาระสุดท้ายจริงๆ
๔๕ ฟังธรรมเรื่อง ถ้าเข้าถึงความจริงของธรรมชาติ แล้วเอามาจัดการชีวิตและสังคมให้ดีได้   
พ.ย. - ธ.ค.  ฟังธรรม หมวดการพัฒนาที่ยั่งยืน         
 
๔๖ ฟังธรรมเรื่อง การพัฒนาที่ยั่งยืน
๔๗ ฟังธรรมเรื่อง สังคมต้องหลากหลาย ให้เข้ากับระดับการพัฒนาของคน
๔๘ ฟังธรรมเรื่อง การพัฒนาที่ดีหนีไม่พ้นธรรม

รายการ ซีซั่น 2  (พ.ศ. 2565)

การฝึกวิปัสสนากรรมฐาน 
๐๑ ฟังธรรมเรื่อง "ความแตกต่างระหว่างสมถะและวิปัสสนา"
๐๒ ฟังธรรมเรื่อง "บัญญัติ ปรมัตถ์"
๐๓ ฟังธรรมเรื่อง "เริ่มจากบัญญัติไปสู่ปรมัตถ์"
๐๔ ฟังธรรมเรื่อง "วิธีเพิกสมมติบัญญัติ"
๐๕ ฟังธรรมเรื่อง "อานาปานสติสู่วิปัสสนา"
๐๖ ฟังธรรมเรื่อง "อภิธรรมจริง"
๐๗ ฟังธรรมเรื่อง "จิตคือผู้รู้"
๐๘ ฟังธรรมเรื่อง "ระลึกรู้ รู้ผู้รู้"
๐๙ ฟังธรรมเรื่อง "จิต เจตสิก รูป นิพพาน"
๑๐ ฟังธรรมเรื่อง "วิปัสสนาภูมิ ๖"
๑๑ ฟังธรรมเรื่อง "รูปนามกับภาวะไตรลักษณ์"
๑๒ ฟังธรรมเรื่อง "ชีวิตเป็นเพียงขันธ์ ๕ "
๑๓ ฟังธรรมเรื่อง "การตามรู้จิต"
๑๔ ฟังธรรมเรื่อง "แม่บทหลักของการปฏิบัติธรรม" (กิจในทุกขสัจจ์)
๑๕ ฟังธรรมเรื่อง "แม่บทหลักของการปฏิบัติธรรม" (กิจในสมุทัย นิโรธ มรรค)
๑๖ ฟังธรรมเรื่อง "การเจริญสติในชีวิตประจำวัน"
๑๗ ฟังธรรมเรื่อง "จุดอ่อนของนักปฏิบัติธรรม"
๑๘ ฟังธรรมเรื่อง "การเจริญสติปัฏฐาน" (กาย)
๑๙ ฟังธรรมเรื่อง "การเจริญสติปัฏฐาน" (เวทนา, จิต, ธรรม)
๒๐ ฟังธรรมเรื่อง "แนวทางปฏิบัติโพธิปักขิยธรรม ๓๗ ประการ"
๒๑ ฟังธรรมเรื่อง "ประทีปส่องธรรม"
๒๒ ฟังธรรมเรื่อง "จงสร้างเหตุแห่งพระนิพพาน"
๒๓ ฟังธรรมเรื่อง ตำแหน่งของข้อปฏิบัติทางจิตใจในระบบพระพุทธศาสนา (ช่วงที่ ๑)
๒๔ ฟังธรรมเรื่อง ตำแหน่งของข้อปฏิบัติทางจิตใจในระบบพระพุทธศาสนา (ช่วงที่ ๒ พระพุทธเจ้าตรัสรู้อะไร)
๒๕ ฟังธรรมเรื่อง ตำแหน่งของข้อปฏิบัติทางจิตใจในระบบพระพุทธศาสนา (ช่วงที่ ๓ มรรค)
๒๖ ฟังธรรมเรื่อง ตำแหน่งของข้อปฏิบัติทางจิตใจในระบบพระพุทธศาสนา (ช่วงที่ ๔ ภาวนา ๔)
๒๗ ฟังธรรมเรื่อง ความสัมพันธ์ระหว่างจิตภาวนากับปัญญาภาวนา (ช่วงที่ ๑)
๒๘ ฟังธรรมเรื่อง ความสัมพันธ์ระหว่างจิตภาวนากับปัญญาภาวนา (ช่วงที่ ๒)
๒๙ ฟังธรรมเรื่อง ความสัมพันธ์ระหว่างจิตภาวนากับปัญญาภาวนา (ช่วงที่ ๓)
๓๐ ฟังธรรมเรื่อง จากจิตภาวนาสู่ปัญญาภาวนาตามวิธีสติปัฏฐาน (ช่วงที่ ๑)
๓๑ ฟังธรรมเรื่อง จากจิตภาวนาสู่ปัญญาภาวนาตามวิธีสติปัฏฐาน (ช่วงที่ ๒) ความหมายของวิปัสสนา
๓๒ ฟังธรรมเรื่อง วิปัสสนาภูมิ ๖ (ช่วงที่ ๑) ขันธ์, อายตนะ
๓๓ ฟังธรรมเรื่อง วิปัสสนาภูมิ ๖ (ช่วงที่ ๒) ธาตุ อินทรีย์ อริยสัจ ปฏิจจสมุปบาท
๓๔ ฟังธรรมเรื่อง โพธิปักขิยธรรม ๓๗
๓๕ ฟังธรรมเรื่อง โพธิปักขิยธรรม ๓๗ (ช่วงที่ ๒) : โพชฌงค์, อริยมรรค
๓๖ ฟังธรรมเรื่อง วิสุทธิ ๗
๓๗ ฟังธรรมเรื่อง  วิปัสสนาญาณ ๙ และ ญาณ ๑๖
๓๘ ฟังธรรมเรื่อง ปริญญา ๓, อนุปัสสนา ๓, ตัวอุปสรรคในกระบวนการปฏิบัติ
๓๙ ฟังธรรมเรื่อง เกี่ยวกับวิปัสสนาและสติปัฏฐาน
๔๐ ฟังธรรมเรื่อง กายานุปัสสนาสติปัฏฐาน
๔๑ ฟังธรรมเรื่อง เวทนา-จิตตา-ธรรมานุปัสสนาสติปัฏฐาน, ข้อสังเกตและข้อแตกต่าง
๔๒ หลักการปฏิบัติ ความมุ่งหมาย และตัวทำงาน และเรื่อง วิธีการกำหนดและวางใจ
๔๓ ฟังธรรมเรื่อง วิธีการกำหนด วางใจ และกระบวนวิธีปฏิบัติ เทคนิคในการเจริญสติปัฏฐาน
๔๔ การใช้อานาปานสติโยงสู่สติปัฏฐาน ๔ และลำดับการปฏิบัติในการเจริญอานาปานสติ ๑๖ ขั้น
๔๕ ฟังธรรมเรื่อง ข้อควรทราบเกี่ยวกับอานาปานสติสูตร
๔๖ ฟังธรรมเรื่อง ข้อควรทราบเกี่ยวกับอานาปานสติสูตร (นิวรณ์ ๕ องค์ฌาน ๕ ธรรมสมาธิ ๕)
๔๗ ฟังธรรมเรื่อง ลำดับการปฏิบัติ อานาปานสติ :: ยืน นั่ง ฟัง เดิน เจริญ สติ
๔๘ ฟังธรรมเรื่อง ลำดับฝึกอานาปานสติ กายานุปัสสนาสติปัฏฐาน และเวทนานุปัสสนาสติปัฏฐาน
๔๙ ฟังธรรมเรื่อง ลำดับฝึกอานาปานสติ จิตตานุปัสสนาสติปัฏฐานและธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐาน
๕๐ ฟังธรรมเรื่อง ความสำเร็จของการปฏิบัติ - โพชฌงค์ ๗
๕๑ ฟังธรรมเรื่อง สมถะ-วิปัสสนา (ตอนแรก)
๕๒ ฟังธรรมเรื่อง สมถะ-วิปัสสนา (ตอนจบ)
 

รายการ ซีซั่น 1  (พ.ศ. 2564)

การฝึกสมถกรรมฐาน
๑. สติ
๑.๑ นาฬิกาตาย   
๑.๒ คุณค่าของชีวิต การงาน และทุกเวลาปัจจุบัน 
๑.๓ สติทำกิจสำคัญทั้งในสมถะ และในวิปัสสนา
๑.๔ บุญในทุกขณะของชีวิต
๒.๐  ฝึก หัด ดัด - จริต : พัฒนาชีวิต ทำจิตใจให้งดงาม
๒. พรหมวิหารกรรมฐาน (แบบฝึกหัดสำหรับโทสะจริต)
๒.๐๑ ฝึก หัด ดัด - จริต 
๒.๐๒ รักแล้วทุกข์ หรือถึงสุข สู่สวรรค์
๒.๐๓ ฝึก ชม
๒.๐๔ รัก + รู้
     ๒.๐๕ จงรักเพื่อนบ้าน จงรักศัตรู
๒.๐๖ เมตตาตัวเอง
๒.๐๗ เมตตาต่อบุคคลในครอบครัว
๒.๐๘ เมตตาต่อเพื่อนมนุษย์
๒.๐๙ เมตตาภาวนาเพื่อการเยียวยาตนเอง
๒.๑๐ เมตตาภาวนาเพื่อการเยียวยาตนเอง ตอนที่ ๒
๓. กายคตาสติ (แบบฝึกหัดสำหรับราคะจริต)
๓.๐๑ งด-งาม
๓.๐๒ ฝึกดูกาย คลายความหลงในกาม
๓.๐๓ กายคตาสติ กรรมฐานแนะนำสำหรับราคะจริต
๓.๐๔ กายคตาสติสูตร
๔.  มรณานุสสติ (แบบฝึกหัดสำหรับพุทธิจริต)
๔.๐๑ เผชิญความแก่ อย่างผ่องใส
๔.๐๒  เผชิญความป่วยไข้ อย่างเข้าใจ
๔.๐๓  เผชิญความตาย (อย่างไร) ดี
๔.๐๔ ก่อนจากลา หลังจากตาย
๔.๐๕ ทุกขณะ อาจเป็น ลมหายใจ สุดท้าย
๔.๐๖ ความตาย เตือนให้ดี ไม่ต้องเดี๋ยว
๔.๐๗ ฝึกเทคนิค แม้จะตาย ก็สบายใจได้
๔.๐๘ วิธีเจริญมรณสติ ตามวิสุทธิมรรค (๑) 
๔.๐๙ วิธีเจริญมรณสติ ตามวิสุทธิมรรค (๒)
๔.๑๐ นักโทษประหาร | เฉลยปริศนา นักโทษประหาร

๕. อนุสสติ (แบบฝึกหัดสำหรับศรัทธาจริต)
๕.๐๑ พุทธานุสติ
๕.๐๒ พุทธานุสติ (๒)
๕.๐๓
ธัมมานุสติ 
๕.๐๔
สังฆานุสติ
๕.๐๕ สีลานุสติ จาคานุสติ เทวตานุสติ
๖.  อานาปานสติ  (แบบฝึกหัดสำหรับวิตกจริต)
๖.๐๑ การฝึกอานาปานสติเบื้องต้น
๖.๐๒ ช่วงถาม-ตอบ การฝึกอานาปานสติเบื้องต้น
๖.๐๓ ลำดับขั้นการฝึกอานาปานสติ
๖.๐๔ ช่วง ถาม-ตอบ ลำดับขั้นการฝึกอานาปานสติ
๖.๐๕ การวางจิตก่อนเจริญอานาปานสติ
๖.๐๖ ช่วง ถาม-ตอบ การว่างจิตก่อนเจริญอานาปานสติ
๖.๐๗ อานาปานสติ ฝึกจนเคยก็ไม่ยาก
๖.๐๘ ช่วงถาม-ตอบ อานาปานสติ ฝึกจนเคยก็ไม่ยาก
๖.๐๙ อานาปานสติขั้นเตรียมการ
๖.๑๐ เจริญสติอิริยาบถเดิน
๖.๑๑ อานาปานสติ : พิจารณารูป-นาม
๖.๑๒ วันคืนแห่งการปฏิบัติธรรม

๗. วิปัสสนากรรมฐาน
     ๗.๐๑ สภาวะธรรมตามความเป็นจริง
     ๗.๐๒ เจริญวิปัสสนาไปเพื่ออะไร
     ๗.๐๓ สัมปชัญญะ
๗.๐๔ สติปัฏฐาน
๗.๐๕ ปุจฉา-วิสัชนา การฝึกวิปัสสนา กับพระอาจารย์โชติก
๗.๐๖ กายานุปัสนาสติปัฎฐาน
๗.๐๗ เวทนานุปัสสนาสติปัฏฐาน
๗.๐๘ จิตตานุปัสสนาสติปัฏฐาน ธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐาน